วันอังคารที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2558

สาเหตุ ที่มา


คำถาม 

ทำไมนํ้ามันประเทศอื่นๆจึงถูกกว่าประเทศไทยเพราะเหตุใดอย่างไร 





สาเหตุ ชำแหละโครงสร้างราคาน้ำมันไทย แพงจริง! นักวิชาการ-กลุ่มปฏิรูป

พลังงาน-บอร์ดปตท.เห็นด้วยลดกองทุนน้ำมัน จะส่งผลให้น้ำมันเบนซินถูกลงทันที 10 บาทต่อ

ลิตร พร้อมหนุนลอยตัวแอลพีจี-แก้ปัญหาการจัดการพลังงานทั้งระบบ

ในขณะที่สื่อสังคมออนไลน์ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเฟซบุ๊ค หรือ ทวิสเตอร์ ต่างมีข้อมูลราคาน้ำมัน

แพง เผยแพร่แชร์ต่อๆ กันไปจำนวนมาก แต่ก็ยังเป็นทั้งข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริง และข้อมูลที่ยัง

คลาดเคลื่อนจากความเป็นจริงอยู่บ้าง “ทีมข่าวไทยพีบีเอสออนไลน์” ได้สัมภาษณ์พิเศษผู้

เกี่ยวข้องและทำงานด้านพลังงานว่าราคาน้ำมันของไทยมีราคาแพงเกินความเป็นจริงหรือ

ไม่ เกิดจากปัจจัยอะไร และอะไรคือทางแก้ปัญหานายมนูญ ศิริวรรณ นักวิชาการอิสระด้าน

ลังงาน ระบุว่า ราคาน้ำมันของประเทศไทยนั้นมีราคาที่แพงจริง โดยโครงสร้างราคาน้ำมันของ

ไทยจะแบ่งเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ คือหนึ่งราคาเนื้อน้ำมัน,ราคาภาษีและกองทุนน้ำมัน และราคา

ค่าการกลั่นและค่าการตลาด

นักวิชาการอิสระด้านพลังงานกล่าวว่า สำหรับราคาเนื้อน้ำมันขณะนี้มีราคาหน้าโรงกลั่น

ประมาณ 25-26 บาท ส่วนราคาน้ำมันที่หนักที่สุดอยู่ในประเภทของภาษีและกองทุนน้ำมัน ที่

ประกอบด้วยภาษีสรรพสามิต กองทุนน้ำมัน ภาษีมูลค่าเพิ่ม และภาษีเทศบาล โดยเมื่อรวมภาษี

และกองทุนน้ำมันแล้ว จะทำให้ราคาน้ำมันสูงกว่าราคาจริง ดังนี้ น้ำมันเบนซินจะมีราคาที่เพิ่ม

ขึ้นประมาณ 21 บาท หรือร้อยละ 41-42 ของราคาขายปลีก แก๊ซโซฮอล์จะมีราคาเพิ่มขึ้น

ประมาณ 10 กว่าบาท คิดเป็นร้อยละ 30 ของราคาขายปลีก ขณะที่น้ำมันดีเซลจะมีราคาเพิ่ม

ขึ้นน้อย คือประมาณร้อยละ 10 ของราคาขายปลีก ส่วนราคาค่าการตลาดจะอยู่ที่ประมาณ

ร้อยละ 4-5 ของราคาขายปลีก ซึ่งถือเป็นจำนวนไม่มากนัก

“ปัญหาที่ทำให้ราคาน้ำมันของไทยแพงนั้นจะอยู่ที่เงินสมทบเข้ากองทุนน้ำมัน และภาษีสรรพ

สามิตที่จะประชาชนจะต้องจ่ายให้กองทุนน้ำมันประมาณ 10 บาทต่อลิตร และค่าภาษีสรรพ

สามิตอีกประมาณ 7 บาทต่อลิตร รวมกับค่าอื่นๆ อีก 3 บาทกว่า ทำให้คนไทยต้องจ่ายเงินใน

อย่างไรก็ดี ทางออกสำหรับการทำให้ราคาน้ำมันถูกลงเร็วที่สุดนั้น นายมนูญเห็นว่าคณะรักษา

ความสงบแห่งชาติ (คสช.) ควรจะทบทวนการลดการเก็บเงินเข้ากองทุนน้ำมันให้ถูกลง แต่

ต้องยอมรับว่าจะกระทบฐานะของกองทุนน้ำมันอย่างมากด้วย เพราะขณะนี้สถานะของกองทุน

น้ำมันมีการติดลบอยู่กว่า 7,300 ล้านบาท







เหตุผลที่กองทุนน้ำมันมีการติดลบจำนวนมาก เพราะที่ผ่านมารัฐบาลได้นำกองทุนน้ำมันไปอุ้ม

การนำเข้าก๊าซแอลพีจีจากต่างประเทศในราคาตลาดโลก แล้วมาขายในประเทศในราคาถูก 

ทำให้เกิดส่วนต่างประมาณ 500 เหรียญสหรัฐต่อตัน หรือประมาณ 4-5 หมื่นล้านบาท ขึ้นอยู่

กับว่าขณะนั้นราคาก๊าซแอลพีจีในต่างประเทศสูง หรือต่ำ ซึ่งปรกติแล้วก๊าซแอลพีจีในต่าง

ประเทศจะมีราคาสูงในหน้าหนาว และราคาจะต่ำลงในหน้าร้อน“ถ้าจะแก้ปัญหาหนึ่ง ก็ต้องแก้

อีกปัญหาด้วย ถ้าไม่แก้อีกปัญหา ก็จะสะสมปัญหาไปเรื่อยๆ จึงเห็นว่าควรปล่อยราคาก๊าซแอล

พีจีให้ลอยตัว” นายมนูญ กล่าวขณะที่ ม.ล.กรกสิวัฒน์ เกษมศรี อีกหนึ่งนักวิชาการอิสระด้าน

พลังงาน อดีตคณะอนุกรรมการเสริมสร้างธรรมาภิบาลด้านพลังงาน วุฒิสภา เห็นด้วยว่าควร

ปล่อยราคาก๊าซแอลพีจีให้ลอยตัว และลดการนำเงินสมทบเข้ากองทุนน้ำมัน จะช่วยแก้ปัญหา

ราคาน้ำมันในประเทศไทยได้เร็วที่สุด“โครงสร้างราคาน้ำมันของไทยมีราคาเริ่มตั้งแต่ราคา

หน้าโรงกลั่นไปถึงหน้าปั้มน้ำมัน แต่ตัวแพงที่สุดคือกองทุนน้ำมัน ประเทศอื่นไม่มีกองทุนน้ำมัน 

ซึ่งปัญหากองทุนน้ำมันเกิดจากก๊าซหุงต้ม”มล.กรณ์กสิวัฒน์ กล่าวว่า ก๊าซหุงต้มกว่าร้อยละ 

80 มีการผลิตในประเทศไทย นำเข้าเป็นส่วนน้อย โดยก๊าซจากโรงแยกก๊าซจะแยกก๊าซจาก

อ่าวไทย 100 เปอร์เซ็นต์ โดยสามารถผลิตก๊าซหุงต้มได้ประมาณ 4 ล้านตัน โดยครัวเรือนใน

ประเทศไทยมีการใช้ประมาณ 3 ล้านตัน ซึ่งเพียงพอ แต่ปัญหาอยู่ที่มติคณะกรรมการนโยบาย

พลังงานแห่งชาติ (กพช.) ในปีพ.ศ.2551 ที่มีการระบุให้ปิโตรเคมีใช้ก๊าซได้ก่อนร่วมกับ

ประชาชน ส่วนอุตสาหกรรมอื่นๆ ใช้ก๊าซที่ผลิตในประเทศได้ในลำดับถัดไป ทำให้ก๊าซที่ผลิต

ได้ 4 ล้านตันไม่เพียงพอ เนื่องจากปิโตรเคมีจะมีการใช้ก๊าซประมาณ 3 ล้านตัน ดังนั้นก๊าซหุง

ต้มจึงไม่เพียงพอสำหรับการให้ประชาชนใช้ได้เหมือนอดีต“เมื่อเป็นเช่นนั้น จึงมีการอุ้มราคา

ก๊าซแอลพีจี ทำให้คนไทยจ่ายค่าก๊าซในราคา 23 บาท ที่เหลือจึงไปเก็บจากผู้ใช้น้ำมัน ทีนี้

กองทุนน้ำมันใหญ่เท่าไรก็ไม่พอ เพราะอุตสาหกรรมปิโตรเคมีมีการใช้น้ำมันเพิ่มขึ้นอย่างต่อ

เนื่อง” มล.กรณ์กสิวัฒน์ กล่าว และบอกด้วยว่า ถ้าจะจัดการให้ถูกจุด ต้องยกเลิกมติกรรมการ

นโยบายพลังงานแห่งชาติ( กพช.)ในปี พ.ศ.2551 ด้วย เมื่อยกเลิกแล้ว จึงจะทำให้การเก็บเงิน

เข้ากองทุนน้ำมันจากผู้ใช้น้ำมันเบนซินจำนวนลิตรละ 10 บาท และผู้ใช้น้ำมันอื่นๆ สามารถเก็บ

ลดลง หรือยกเลิกการเก็บได้ ซึ่งจะทำให้ราคาน้ำมันในปัจจุบันลดลง 10 บาททันทีนอกจากนี้ 

มล.กรณ์กสิวัฒน์ กล่าวว่า ปัญหาราคาน้ำมันแพงในประเทศไทยยังมีปัจจัยอื่นๆ ทีเกี่ยวข้อง 

คือ 

มติคณะกรรมการบริหารนโยบายพลังงาน เมื่อประมาณต้นปี พ.ศ.2556 ที่ออกมาว่าให้คนไทย

ใช้น้ำมันราคาน้ำมันสำเร็จรูป คือให้คนไทยใช้ราคาสมมติตั้งต้นที่ประเทศสิงคโปร์ ดังนั้นราคา

จึงมีการรวมราคาค่าระวางเรือ ค่าประกัน ฯลฯ ที่เป็นค่าใช้จ่ายที่ไม่มีอยู่จริงรวมอยู่ด้วย เป็น

ราคาสมมติว่าไทยต้องนำเข้าน้ำมัน ทั้งๆ ที่แท้จริงแล้ว ประเทศไทยสามารถกลั่นน้ำมันได้เป็น

จำนวนมาก จนมีการส่งออกน้ำมันสำเร็จรูปไปอาเซียนเป็นอันดับ 1 และเป็นสินค้าส่งออกไป

ตลาดโลกในอันดับที่ 3 มากว่า 10 ปีแล้ว ดังนั้นไม่มีความจำเป็นใดๆ ที่จะต้องสมมติราคาน้ำมัน

ตั้งต้นที่สิงคโปร์ และบวกราคาค่าขนส่งมาประเทศไทยที่ทำให้คนไทยต้องใช้น้ำมันราคาแพง

อีกประการสำคัญคือ ขณะนี้ไทยเป็นประเทศเดียวที่ใช้น้ำมันมาตรฐานยูโร 4 ทำให้น้ำมันของ

ไทยจะมีการตั้งต้นที่ราคาของประเทศสิงคโปร์และมีราคาที่เพิ่มขึ้นเป็นราคาค่าปรับปรุง

คุณภาพน้ำมันให้เข้ามาตรฐานยูโร 4 อีกประมาณ 2.88 เซ็นสำหรับน้ำมันดีเซล หรือคิดเป็น

ไปอีก เป็นอีกเหตุหนึ่งที่ทำให้คนไทยต้องใช้น้ำมันแพง จึงเห็นว่าควรมีนโยบายใหม่ในการ

กำหนดมาตรฐานของน้ำมันเป็นมาตรฐานของอาเซียนเหมือนประเทศอื่นๆที่สำคัญการแก้

เฉพาะระบบการให้สัมปทานกับต่างประเทศ ทำให้การขุดน้ำมันได้เท่าไรเป็นของต่างชาติหมด 

คนไทยไม่มีสิทธิในทรัพยากร เรียกว่า ยิ่งขุดยิ่งจนแหล่งข่าวในบอร์ด ปตท. ให้สัมภาษณ์กับ “

ทีมข่าวออนไลน์ ไทยพีบีเอส” ว่า การเก็บภาษีน้ำมันยังมีความจำเป็น เนื่องจากภาษีจะนำไป

พัฒนาประเทศ และภาษียังเป็นตัวสำคัญที่จะทำให้เป็นไปตามนโยบายการพัฒนาประเทศที่

ต้องการให้ลดการใช้พลังงานน้ำมันลง หากภาษีมีราคาน้อย ก็จะทำให้มีผู้ใช้น้ำมันใน

ประเทศไทยมาก ไม่เป็นผลดีต่อสิ่งแวดล้อม และภาวะการแข่งขันของประเทศ แต่เห็นด้วยที่จะ

ให้มีการลดการเก็บเงินเข้ากองทุนน้ำมัน โดยจะต้องเลิกอุ้มราคาแอลพีจีก่อน เพราะการอุ้มรา

คาแอลพีจีของภาครัฐทำให้เกิดความเสียหายกับประเทศอย่างมาก



ที่มา  :   http://news.thaipbs.or.th/ 






สาเหตุ


ราคาน้ำมันภายในประเทศ

ต้นทุนของราคาน้ำมันประกอบด้วยอะไรบ้าง
ราคาน้ำมัน คือ ผลรวมของ ต้นทุนสินค้าซึ่งได้แก่น้ำมันนั่นเอง ภาษีสรรพสามิต ภาษีอื่นๆ และเงินสมทบกองทุนของรัฐบาล ตลอดจนค่าการตลาด
ต้นทุนสินค้า (ราคาหน้าโรงกลั่น)
ต้นทุนสินค้า คือ ราคาน้ำมันหน้าโรงกลั่น(ทั้งน้ำมันเบนซินและน้ำมันดีเซล) บวกกับค่าขนส่ง   เนื่องจากในประเทศไทยไม่สามารถกลั่นน้ำมันสำเร็จรูปให้เพียงพอต่อความต้องการในประเทศได้ทั้งหมด  จึงต้องมีการนำเข้าน้ำมันสำเร็จรูปจากต่างประเทศ    ดังนั้น เพื่อให้มีความสามารถในการแข่งขันได้ ราคาน้ำมันสำเร็จรูปในประเทศไทยจึงต้องอ้างอิงราคาน้ำมันสำเร็จรูป ณ ตลาดสิงคโปร์  ซึ่งเป็นตลาดกลางในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ส่วนราคาน้ำมันสำเร็จรูปในประเทศอื่นๆ นั้น ก็มีการอ้างอิงราคาน้ำมันสำเร็จรูปในตลาดกลางของแต่ละภูมิภาค  เช่น ตลาดดูไบในตะวันออกกลาง  ตลาดเวสต์เท็กซัสในสหรัฐอเมริกา และตลาดเบรนท์ในประเทศอังกฤษ
ภาษีสรรพสามิตและภาษีอื่นๆ
ภาษีสรรพสามิต -   ภาษีที่คิดจากปริมาณน้ำมันเมื่อส่งออกจากโรงกลั่นหรือคลังน้ำมัน ภาษีนี้เรียกเก็บในอัตราคงที่  
ภาษีเทศบาล - ภาษีเรียกเก็บเพื่อบำรุงท้องถิ่น   คิดเป็น 10% ของภาษีสรรพสามิต
ภาษีมูลค่าเพิ่ม - ภาษีที่คิดจากราคาน้ำมันที่ขาย ณ สถานีบริการน้ำมัน
กองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง - กองทุนที่รัฐบาลจัดตั้งขึ้นเพื่อสนับสนุนนโยบายเกี่ยวกับน้ำมันเชื้อเพลิง
กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน - กองทุนที่รัฐบาลจัดตั้งขึ้นเพื่อสนับสนุนนโยบาย อนุรักษ์พลังงาน
ค่าการตลาด
  • ค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการคลังน้ำมัน
  • ค่าใช้จ่ายในการขนส่งน้ำมันจากคลังน้ำมันไปยังสถานีบริการ
  • ค่าใช้จ่ายในการบริหารงานทั่วไป  การขายและการตลาด
  • ค่าใช้จ่าย ณ สถานีบริการ เช่น ค่าแรง พนักงาน ค่าเช่าที่ดิน และค่าสาธารณูปโภคต่างๆ
  • กำไรในการขายส่งและขายปลีก


ที่มา :  http://www.shell.co.th/th/products-services/on-the-

road/fuels/fuel-pricing/country-pricing.html

สาเหตุ

เนื่องจากราคาหน้าปั๊มประกอบด้วย 3 ส่วนประกอบ ได้แก่ ราคาเนื้อน้ำมัน ภาษี และ ค่าการตลาด ซึ่งโดยปกติ ภาษีนั้นจะค่อนข้างคงที่ ในขณะที่ราคาเนื้อน้ำมันซึ่งอ้างอิงราคาน้ำมันในตลาดสิงคโปร์จะมีความผันผวนสูง ดังนั้น หากราคาเนื้อน้ำมันปรับสูงขึ้นโดยไม่การเปลี่ยนราคาหน้าปั๊ม ก็จะส่งผลให้ค่าการตลาดของผู้ค้าน้ำมันหดลงจนบางครั้งอาจติดลบได้ ดังนั้นผู้ค้าน้ำมันจึงจำเป็นต้องปรับราคาหน้าปั๊มขึ้น เพื่อให้ยังคงมีกำไรบางส่วนอยู่บ้าง

โดยปกติผู้ค้าน้ำมันจะประวิงเวลาในการปรับราคาหน้าปั๊ม จนกระทั่งค่าการตลาดหดตัวลงไปมาก เนื่องจากผู้ค้าน้ำมันมักถูกผู้บริโภควิจารณ์ในแง่ลบในการปรับขึ้นราคาหน้าปั๊มในแต่ละครั้ง ดังนั้นจึงจะพบว่า ค่าการตลาดของผู้ค้าน้ำมันจะอยู่ในเกณฑ์ต่ำเกือบตลอดเวลา หากติดตามราคาหน้าปั๊มในตลาดโลกอย่างใกล้ชิดทุกวันจะพบว่า ในความเป็นจริงแล้วการที่ผู้ค้าน้ำมันมักถูกวิจารณ์ว่าปรับราคาหน้าปั๊มเพิ่มขึ้นรวดเร็วนั้น อาจไม่ถูกต้องนัก เพราะปกติผู้ค้าน้ำมันมักจะรอให้ค่าการตลาดลดลงมากๆ ก่อน จึงจะปรับขึ้นราคาหน้าปั๊ม ส่วนช่วงเวลาที่ราคาหน้าปั๊มปรับเพิ่มขึ้นเร็วนั้น น่าจะเป็นช่วงเวลาหลังจากที่ผู้ค้าน้ำมันได้ประวิงเวลาในการปรับขึ้นราคาหน้าปั๊มมาแล้วระยะหนึ่ง ทำให้ค่าการตลาดอยู่ในระดับต่ำมาก จนไม่เพียงพอต่อค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน ดังนั้นราคาหน้าปั๊มจึงถูกปรับให้ขยับเพิ่มขึ้นให้ทันกับราคาน้ำมันในตลาดสิงคโปร์ที่ปรับสูงขึ้น ซึ่งในช่วงเวลาที่ราคาน้ำมันในตลาดสิงคโปร์ปรับตัวขึ้นอย่างรวดเร็วและรุนแรงนั้น ราคาหน้าปั๊มในช่วงเวลานั้นจะมีการปรับเพิ่มขึ้นบ่อยครั้ง ดังเช่นในปี 2551
ในทางกลับกัน เมื่อราคาน้ำมันในตลาดสิงคโปร์ปรับตัวลดลง ผู้ค้าน้ำมันมักถูกวิจารณ์ว่า ปรับลดราคาหน้าปั๊มช้า ซึ่งการที่ ผู้ค้าน้ำมันไม่สามารถลดราคาหน้าปั๊มได้ในทันทีนั้น เนื่องจากค่าการตลาดเฉลี่ยโดยรวมของผู้ค้าน้ำมันอยู่ในระดับต่ำ ทั้งนี้สืบเนื่องจาก ในช่วงก่อนหน้านั้นที่ราคาน้ำมันในตลาดสิงคโปร์ได้ปรับตัวสูงขึ้น ผู้ค้าน้ำมันได้มีการชะลอการปรับขึ้นราคาหน้าปั๊ม ทำให้ค่าการตลาดเฉลี่ยอยู่ในระดับต่ำ จึงต้องอาศัยเวลาสักระยะหนึ่งให้ค่าการตลาดเฉลี่ยกลับมาอยู่ในระดับที่เหมาะสม ผู้ค้าน้ำมันจึงจะลดราคาหน้าปั๊มลง

ที่มา: http://www.thaioilgroup.com/topspace/faqs/index-02-th.php






 สาเหตุ

น้ำมัน (อังกฤษOil) เป็นคำสามัญที่ใช้เรียกสารอินทรีย์ของเหลวที่ผสมเข้ากันไม่ได้(immiscible) กับน้ำ เนื่องจากน้ำมันเป็นโมเลกุลไม่มีขั้ว คำว่า น้ำมัน ในภาษาอังกฤษ (Oil) มาจากภาษาละติน oleum ซึ่งหมายถึงน้ำมันมะกอก
บ่อยครั้งที่คำว่า น้ำมัน ใช้หมายถึง น้ำมันปิโตรเลียม (น้ำมันดิบ) ซึ่งน้ำมันชนิดนี้จะถูกสูบขึ้นมาจากพื้นดิน ปัจจุบันน้ำมันปิโตรเลียมเป็นแหล่งพลังงานหลักและเป็นส่วนสำคัญของเศรษฐกิจโลก

ที่มา:

http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%99





วันอังคารที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2557

การวางแผน





การวางแผน

1.สมาชิกในกลุ่มร่วมกันอภิปราย ลิสต์หัวข้อเกี่ยวกับน้ำมันในประเทศ 
ว่าควรมีหัวข้ออะไรบ้าง แต่ละหัวข้อควรไปหาข้อมูลจากแหล่งใดบ้าง

2. สมาชิกในกลุ่มแบ่งกันไปหาข้อมูลจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ เช่น ห้องสมุดโรงเรียน   google 

3. ไปหาข้อมูล 

4. ปรึกษาคุณครูที่สอน

5. รวบรวมข้อมูลลงในแอนนี่ไรน์


                                                                 น้ำมัน



1.น้ำมัน หมายความถึง สารประกอบ ๒ ประเภท 
ประเภทแรก คือ น้ำมันแร่ ซึ่งสูบขึ้นมาจากใต้ดิน ได้แก่ น้ำมันเชื้อเพลิง น้ำมันหล่อลื่น และผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรมหลายชนิด ไม่สามารถใช้บริโภคได้ ซึ่งจะไม่กล่าวถึงในที่นี้ 

ประเภทที่สอง คือ น้ำมันพืช ที่บริโภคได้ ได้แก่ น้ำมันพืช และน้ำมันสัตว์ ซึ่งเป็นสารประกอบเชิงอินทรีย์เคมีที่พืช และสัตว์สง เคราะห์ขึ้น และถูกนำไปสกัดออกมาใช้บริโภคหรือใช้เตรียมอาหาร เพื่อเพิ่มรสชาติ และแปรรูปให้ชวนรับประทานยิ่งขึ้น ในสมัยแรกที่มีการสกัดน้ำมันพืชนั้น ก็เพื่อใช้ทดแทน หรือผสมกับน้ำมันสัตว์ให้มีปริมาณมากขึ้นเพียงพอต่อความต้องการ และก็พบว่ามีพืชหลายชนิดที่ใช้สกัดเอาน้ำมันได้ประกอบกับวิทยาการในการเพาะปลูก การสกัดและการแปรรูป ได้ก้าวหน้าตามลำดับ จึงได้นำน้ำมันพืชไปแปรรูปเพื่อใช้ประโยชน์ในด้านอื่น ๆ นอกเหนือจากการบริโภคอีกมากมายหลากหลายชนิด เช่น ทำสี และน้ำมันผสมสี เครื่องสำอาง ยารักษาโรค สบู่ ผงซักฟอก เส้นใยสังเคราะห์ หนังเทียม แผ่นพลาสติก น้ำมันเชื้อเพลิง และน้ำมันหล่อลื่น (ในภาวะที่เกิดการขาดแคลน) อาจจะกล่าวได้ว่า น้ำมันพืชได้เข้ามามีบทบาทสำคัญในการดำรงชีวิตของมนุษย์ในปัจจุบัน
  
ที่มา: kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK19/chapter2/t19-2-l1.htm#sect1 







วันจันทร์ที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

การตั้งสมมติฐาน


การตั้งคำถาม


        ทำไมนํ้ามันประเทศอื่นๆจึงถูกกว่าประเทศไทยเพราะเหตุใด        อย่างไร
เพราะเศรษฐกิจแต่ละประเทศไม่เหมือนกัน

ปัญหาต่างๆ

ปัญหาต่างๆ








การทิ้งขยะในโรงเรียนชะอวด



1. ทำไมนักเรียนไม่ชอบเก็บขยะ 

2.ทำไมนักเรียนไม่ค่อยเก็บขยะ

3.ทำไมชุมชนของฉันมีแต่ขยะ

4.ทำไมไม่จัดเก็บขยะหรือแยกขยะ

5.ทำไมเด็กชะอวดไม่ชอบความสะอาด









การเกิดอุบัติเหตุ

1.ทำไมที่สี่แยกรถชนกันบ่อย

2.ทำไมรถจึงชนกัน

3.ทำไมเวลาฝนตกรถจึงชนกันมาก

4.ทำไมต้องเกิดอุบัติเหตุ

5.ทำไมทางเลี้ยวถึงมีรถชนกันมาก

6.ทำไมต้องมีไฟแดงไฟเหลืองไฟเขียว

7.ทำไมรถต้องติดไฟเลี้ยว

8.ทำไมต้องมีรถชนกันบ่อยครั้ง
























วันอังคารที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

การตั้งคำถาม


การตั้งคำถาม


ทำไมน้ำมันประเทศอื่นๆจึงถูกกว่าประเทศไทยเพราะเหตุใดอย่างไร
   


การตั้งสมมติฐาน

ทำไมน้ำมันประเทศอื่นๆจึงถูกกว่าประเทศไทย
เพราะอาจเนื่องมาจากสิ่งแวดล้อมของประเทศอื่นๆไม่เหมือนกันและแตกต่างจากประเทศไทย






วันอังคารที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

ประวัติความเป็นมา

                                             ประวัติความเป็นมา
   
ชื่อ    ด.ญ.สุภาวดี      เกาะทอง   ชื่อเล่น  ทราย  
 ม.2/4   เลขที่   33
อายุ   13   ปี  กำลังเรียนอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่   2/4
บิดาชื่ีอ    นายวัฒนา    เกาะทอง      อายุ    50    ปี
อาชีพ   ทำสวน    
มารดาชื่อ    นางพิม     เกาะทอง      อายุ    45     ปี
อาชีพ     ทำสวน
เป็นบุตรคนที่  2
มีพี่น้องทั้งหมด   2  คน       ที่อยูปัจจุบัน บ้านเลขที่110ม.7ต.ขอนหาด อ.ชะอวดจ.นครศรีธรรมราช
กีฬาที่ชอบ    วอลเลย์บอล
วิชาที่ชอบ      ภาษาอังกฤษ

อาหารที่ชอบ    ส้มตำ    






ข้าพเจ้าชื่อ   ด.ญ.  ปิยะนันท์    ภิรมรักษ์  ชื่อเล่น  ฟ้า 
 ม.2/4    เลขที่  20    
อายุ   14  ปี    กำลังเรียนอยู่ที่โรงเรียนชะอวด
บิดา   นายสมพงษ์    ภิรมรักษ์     อายุ   45  ปี
อาชีพ  ทำสวน     ศาสนา    พุทธ
มารดา  นางเกษร      ภิรมรักษ์      อายุ  42   ปี
อาชีพ   ทำสวน     ศาสนา    พุทธ
เป็นบุตรคนที่  2
มีพี่น้องท้องเดี่ยวอยู่  2
เป็นที่หลบฝน     บ้านเลขที่  206   ม.6    ต.ควนหนองหงส์   อ.ชะอวด 
จ.นครศรีธรรมราช
ชอบกีฬา         แบตมินตัน
วิชาที่ชอบ       วิทยาศาสตร์
อาหารที่ชอบ   ข้าวผัดกระเพราไข่ดาว









ชื่อ   ด.ญ.ปิยะนันท์ ภิรมรักษ์      ม.2/4    เลขที่20   อายุ 14 ปี 

กำลังศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่2/4

บิดา   นายสมพงษ์    ภิรมรักษ์         อายุ  45  ปี               

 อาชีพ   ทำสวน    รายได้/เดือน   4,500   บาท
มารดา   นางเกษร     ภิรมรักษ์        อายุ  42   ปี               

 อาชีพ   ทำสวน     รายได้/เดือน   4,500    บาท
เป็นบุตตรคนที่2
มีบุตรทั้งหมด2คน 

ที่อยู่ปัจจุบัน

 บ้านเลขที่206   ม. 6   ต.ควนหนองหงส์  อ.ชะอวด จ.นครศรีธรรมราช

F